Category Archives: ความรู้จากงานวิจัย

ระบบปรับสภาพพ่อแม่พันธุ์หอยนางรมและอนุบาลลูกหอยระยะกึ่งวัยรุ่นแบบลอยน้ำในบ่อดิน

การเลี้ยงหอยนางรมในประเทศไทยยังอาศัยลูกพันธุ์จากธรรมชาติเป็นหลัก แต่ปริมาณลูกหอยนางรมจากธรรมชาติมีปริมาณลดน้อยลงอย่างต่อเนื่อง มีสาเหตุมาจากการจับหอยนางรมในธรรมชาติมากเกินไปจนทำให้ขาดแคลนพ่อแม่พันธุ์รวมถึงปัญหามลพิษชายฝั่งทะเลที่นับวันจะทวีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น (สถาบันวิจัยทรัพยากรทางน้ำ, 2546) …

การวิเคราะห์ทรัพยากรน้ำ และอุทกภัยในลุ่มน้ำเพชรบุรี ภายใต้การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้สร้างผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยรวมและสภาพแวดล้อมของโลก ยกตัวอย่างเช่น มีการเกิดพายุที่รุนแรงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล …

วิจัย และพัฒนาระบบการผลิตสวนชาแบบเกษตรกรมีส่วนร่วม ในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนเพื่อเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์

จังหวัดน่าน จัดเป็นจังหวัดที่เป็นแหล่งต้นน้ำที่สำคัญของประเทศ แต่จากการสำรวจพื้นที่ป่าในจังหวัดน่านพบว่า ปัจจุบันได้ถูกทำลายไปเป็นจำนวนมากด้วยการทำไร่เลื่อนลอย ส่งผลกระทบในแง่ลบโดยตรงแก่สภาพแวดล้อมเปลี่ยน …

การพัฒนาพันธุ์มะพร้าวน้ำหอมเนื้อกะทิแบบก้าวกระโดดด้วยเทคโนโลยีดีเอ็นเอ

มะพร้าวเป็นพืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและเกี่ยวพันกับวัฒนธรรมของประเทศไทยมาเป็นเวลานาน โดยปัจจุบันได้มีการบริโภคมะพร้าวในหลากหลายรูปแบบ เช่น เนื้อมะพร้าวสด น้ำมะพร้าวพร้อมดื่ม …

การควบคุมโรคผลแตกผลลายในการผลิตลำไยส่งออกจังหวัดพะเยา

ลำไยเป็นไม้ผลเศรษฐกิจสำคัญอันดับหนึ่งของภาคเหนือในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่  …

บูรณาการการป้องกันแก้ปัญหาสาหร่ายและคุณภาพน้ำในเขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิรินธรตั้งอยู่อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอ่างเก็บน้ำที่สร้างกั้นแม่น้ำลำโดมน้อย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า และยังมีศักยภาพรองในด้านการท่องเที่ยว …

การพยากรณ์ฝนความละเอียดสูง เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำบางพื้นที่และขาดแคลนน้ำตามฤดูกาล หลายพื้นที่ประสบปัญหาจากอุทกภัยที่มีสาเหตุจากป่าไม้บริเวณต้นน้ำลำธารถูกทำลาย และเมื่อพิจารณาขอบเขตการวิจัยตามกรอบด้านการบริหารจัดการน้ำในแง่ของ Issue …

การประเมินและคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมมะขามเปรี้ยวไทย

ปัจจุบันความต้องการมะขามเปรี้ยวมีความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2549) แม้ว่ามะขามจะเป็นพืชยืนต้นที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย …

การพัฒนาพันธุ์มะเขือเทศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อการบริโภคผลสดและการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรม

ด้วยความนิยมบริโภคมะเขือเทศกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก ทำให้เกิดการคัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์แบบทั้งด้านขนาด รูปร่าง รสชาติ สี …