สมุนไพรไทย เทรนด์ไกลตลาดนอก
คำว่าสมุนไพรที่เรามักคุ้นหู ชินตากันมาช้านาน รับประทานกันจนแทบจะจดจำชื่อและลักษณะแทบจะไม่ไหว มีประโยชน์ทั้งในแง่สรรพคุณทางยา เป็นเครื่องเทศชูรส …
ลูกเดือย ธัญพืชมากประโยชน์
ลูกเดือย พืชธัญพืชที่มีขนาดใหญ่กว่าข้าวโพด ลักษณะทางกายภาพของลูกเดือยจะมีเม็ดสีขาวหรือสีน้ำตาลอ่อน มีลักษณะเป็นรูปกลมและมีลายโค้งเล็กน้อยบนผิวภายนอกเปลือกเมล็ด ส่วนภายในเป็นสีขาวและมีเนื้อเมล็ด …
งาม้อน หรืองาขี้ม้อน
งาม้อน หรืองาขี้ม้อน กำลังเป็นส่วนผสมขนมอบที่กำลังได้รับความนิยมในปัจจุบัน และมีตลาดที่ขยายตัวมากขึ้นเมื่อผู้บริโภคเริ่มให้ความสนใจกันอย่างแพร่หลาย ที่จริงแล้วคำว่างาขี้ม้อนนั้นจะใช้กันมากในบริเวณทางเหนือ …
การใช้พลังงานทดแทนในภาคการเกษตร
ภาคการเกษตรกรรมถือเป็นภาคการผลิตที่สำคัญสำหรับความมั่นคงอาหารทั่วโลก ในประเทศไทยเรานั้นได้เริ่มนำพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในภาคการผลิตเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในปัจจุบันที่เราจะพบว่าแผงโซลาเซลล์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่เคยมีราคาสูงลิบลิ่วแทบจะจับต้องไม่ได้ในอดีต กลายเป็นอุปกรณ์ที่สามารถซื้อหาได้ในราคาที่พร้อมจ่ายมากขึ้น …
การปลูกกาแฟอราบิก้าในไทย
การปลูกกาแฟอราบิก้าในประเทศไทยเรานั้นแรกเริ่มเดิมทีเมื่อ 50 กว่าปีที่ผ่านมาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้ปลูกในพื้นที่สูงเพื่อทดแทนการปลูกพืชที่มีอนุพันธุ์ออกฤทธิ์เสพติดโดยโครงการหลวง จนสามารถให้ผลผลิตได้ดีและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้เพาะปลูก จนมรการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ผลผลิตที่มากขึ้นและมีคุณภาพมากขึ้น …
การพัฒนารูปแบบสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารด้วยนวัตกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลูกพืชและการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต
ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกำลังเผชิญกับความท้าทาย อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และความแปรปรวนทางธรรมชาติ ส่งผลให้องค์ประกอบของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ในประเทศไทย …
การศึกษาการพัฒนาการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ เพื่อการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งอย่างรุนแรงที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 56 ล้านไร่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบอย่างหนัก …
การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการให้น้ำในกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวาย ด้วยการตัดสินใจบนข้อมูลพื้นฐานเพื่อการจัดการน้ำที่ยั่งยืน
การผลิตกล้วยไม้ถูกท้าทายจากปัญหาการจัดการน้ำ เนื่องจากขาดงานวิจัยที่สนับสนุนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความต้องการน้ำสำหรับการผลิตกล้วยไม้ที่แปรผันตามสภาพอากาศและฤดูกาล เกษตรกรยังคงอาศัยการตัดสินใจโดยอาศัยประสบการณ์เพื่อกำหนดเวลาและความถี่ในการให้น้ำ (experienced based …