การเพาะเมล็ดผักหวานป่า

หลายคนให้ความสนใจกับการเพาะเมล็ดผักหวานป่า เพราะเป็นหนึ่งในวิธีการขยายพันธุ์ที่เป็นที่นิยมและให้ผลดีมากในปัจจุบันเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีอื่นๆ แต่ในการขยายพันธุ์โดยวิธีการนี้จำเป็นที่จะต้องทำความเข้าใจก่อนด้วยว่า ต้นผักหวานนั้นจะผลิตเมล็ดพันธุ์ได้ไม่มาก มีจำนวนต้นที่สามารถให้เมล็ดได้ไม่มากนัก …

[อ่านเพิ่มเติม]

การจัดการเมล็ดพันธุ์ กลยุทธ์เพื่อเพิ่มผลผลิต

เกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรมท่อยู่คู่ประเทศไทยเรามาช้านานและมีส่วนสำคัญต่อเศรษฐกิจของประเทศ การจัดการเมล็ดพันธุ์เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส่งผลต่อผลผลิต เพราะเมล็ดพันืทีมีความสมบูรณ์จะทำให้เกิดผลผลิตในปริมาณสูงและผลผลิตมีคุณภาพ ทำให้การการจัดการเมล็ดพันธุ์มีบทบาทสำคัญในการเกษตรอย่างมาก ทำให้มีหลายหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนต่างร่วมแรงร่วมใจกันพัฒนาวิจัยเกี่ยวกับเรื่องนี้กันมากขึ้น …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาเทคโนโลยีระบบเลี้ยงพ่อแม่พันธุ์และระบบเพาะพันธุ์ปลาพลวงชมพู

แนวคิดการผลิตสินค้าประจำท้องถิ่น  เป็นแนวทางหนึ่งที่จะสร้างความเจริญแก่ชุมชนให้สามารถยกระดับความเป็นอยู่ของคนในชุมชนให้ดีขึ้น โดยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์คุณภาพสูงที่สามารถสร้างรายได้และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ในพื้นที่ อำเภอเบตง …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมเพื่อปลูกในดินนาฤดูแล้งเขตชลประทานภาคกลาง (ระยะที่ 2, ปีที่ 2)

การปลูกข้าวโพดในประเทศใช้พันธุ์ที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์ที่เหมาะกับการปลูกในช่วงต้นฤดูฝนเป็นหลัก ดังนั้น การปลูกข้าวโพดในฤดูแล้งจึงเป็นพันธุ์ที่ไม่ได้ปรับปรุงพันธุ์ให้เหมาะสมกับการปลูกในฤดูแล้งโดยตรง จากรายงานการวิจัยพบว่าผลผลิตของข้าวโพดที่เพิ่มขึ้นกว่าอดีต สามารถทำได้โดยการผสมผสานระหว่างการปรับปรุงพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมไปพร้อมกัน …

[อ่านเพิ่มเติม]

วิจัยและพัฒนาเครื่องกำจัดวัชพืชในนาข้าวแบบถอนรากและบีบอัดวัชพืช

ข้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ทั้งเป็นอาหารหลักและส่งออกที่จำเป็น ปัจจุบันประเทศไทยมีการปลูกข้าวมากกว่า 70 ล้านไร่ …

[อ่านเพิ่มเติม]

ประโยชน์ต่อสุขภาพของผงรำข้าวสกัดน้ำมันที่มีใยอาหารสูง ในสัตว์และในคน (ปีที่ 2)

มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก (Colorectal cancer) เป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญทั่วโลก พฤติกรรมการบริโภคอาหารบทบาทอย่างมากในการก่อให้เกิดมะเร็งชนิดนี้ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศร่วมกับการอนุรักษ์ดินและน้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ำสำหรับวางแผนปลูกข้าวในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของจังหวัดขอนแก่น นครสวรรค์ และน่าน

สถานการณ์ภัยแล้งในประเทศไทยในปัจจุบันทวีความรุนแรงขึ้น มีพื้นที่แล้งซ้ำซากประมาณ 56 ล้านไร่กระจายไปตามภูมิภาคต่างๆ โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ …

[อ่านเพิ่มเติม]

เทคโนโลยีฐานสำหรับการใช้ข้อมูลความหลากหลายทางพันธุกรรมในการ ปรับปรุงพันธุ์ข้าว (ปีที่ 2)

ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี Next Generation Sequencing ทำให้การจัดลำดับนิวคลีโอไทด์ของจีโนมของ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การจัดการความรู้การผลิตข้าวด้วยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เพื่อพัฒนาเกษตรกรและเพิ่มคุณภาพการผลิตอย่างยั่งยืน

ประเทศไทยประสบปัญหาผลผลิตข้าวคุณภาพต่ำส่งผลให้ราคาข้าวตกต่ำ สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้ระบุปัญหาสำคัญ 6 ประการ ได้แก่ …

[อ่านเพิ่มเติม]