Category Archives: ความรู้จากงานวิจัย

การบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตรกรรมด้วย IoT ร่วมกับกระบวนการมีส่วนร่วมภาคประชาชน ในพื้นที่คาบสมุทรสทิงพระ จังหวัดสงขลา

การขาดแคลนน้ำและคุณภาพเป็นปัญหาสำคัญในหลายภูมิภาคของโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ที่น้ำมีความจำเป็นต่อการทำการเกษตร คาบสมุทรสทิงพระ ตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศไทย ประกอบด้วย …

[อ่านเพิ่มเติม]

ความต้องการโภชนะของโคนมในประเทศไทย

การเลี้ยงโคนมเป็นอุตสาหกรรมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมายาวนาน โดยรัฐบาลเริ่มให้ความสำคัญอุตสาหกรรมนี้อย่างชัดเจนในปี พ.ศ. 2514 ด้วยการจัดตั้ง …

[อ่านเพิ่มเติม]

การขยายพันธุ์ผึ้งโพรงไทยลูกผสมเพื่อการเลี้ยงผึ้งในพื้นที่แล้ง จังหวัดพะเยา

การเลี้ยงผึ้งเป็นอุตสาหกรรมที่กำลังขยายตัวไปทั่วโลก เพราะมีการพัฒนาวิธีการเลี้ยงผึ้งที่ช่วยให้สามารถสร้างรวงรังหลายชั้น (Multiple comb nest …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนานวัตกรรมโภชนาการจำเพาะบุคคล เพื่อให้ผู้บริโภคใช้เลือกรับประทานข้าวไทย เพื่อลดระดับน้ำตาลหลังมื้ออาหาร โดยอาศัยลักษณะจุลชีพในลำไส้และปัญญาประดิษฐ์

ข้าวเป็นอาหารหลักคนไทยและเป็นอุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ อย่างไรก็ตาม การบริโภคคาร์โบไฮเดรตในปริมาณและชนิดที่ไม่เหมาะสมอาจส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ เช่น ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและโรคอ้วนลงพุง(metabolic …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์พืชสมุนไพรวงศ์ขิงโดยการเหนี่ยวนำให้กลายพันธุ์เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิต

เป็นเวลาหลายศตวรรษที่มนุษย์ใช้พืชขิงเพื่อประโยชน์มากมาย พืชเหล่านี้นิยมนำมาประกอบอาหารและใช้เป็นเครื่องเทศ  เช่น ขิง (Zingiber …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนากระบวนการหมักสมุนไพรเพื่อควบคุมโรคพืช

โรคและแมลงศัตรูพืชในภาคการเกษตรสร้างความเสียหายนับแสนล้านบาทต่อปี ประเทศไทยเป็นประเทศที่พึ่งพาเกษตรกรรมเป็นหลัก โดยมีการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารจำนวนมาก การใช้สารเคมีอันตรายทางการเกษตร เพื่อควบคุมโรคและแมลงศัตรูพืชเหล่านี้มีค่าใช้จ่ายสูงและสร้างปัญหาหนี้สินให้กับเกษตรกร …

[อ่านเพิ่มเติม]

แพลตฟอร์มการจัดการน้ำชุมชนเพื่อการเกษตรด้วยโมบายคลาวด์คอมพิวติง

การบริหารจัดการน้ำเป็นเครื่องมือสำคัญของรัฐบาลในการสนับสนุนการเพิ่มผลผลิตภาคเกษตรตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (O2.7/KR2.7.4) กระบวนการผลิตทางการเกษตรพึ่งพาทรัพยากรน้ำเป็นอย่างมาก ทำให้หน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจำเป็นต้องจัดสรรน้ำให้เพียงพอต่อการใช้ในทุกภาคส่วน เพื่อจัดการกับปัญหานี้ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนารูปแบบสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารด้วยนวัตกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลูกพืชและการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต

ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกำลังเผชิญกับความท้าทาย อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และความแปรปรวนทางธรรมชาติ ส่งผลให้องค์ประกอบของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ในประเทศไทย …

[อ่านเพิ่มเติม]

การศึกษาการพัฒนาการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ เพื่อการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งอย่างรุนแรงที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 56 ล้านไร่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบอย่างหนัก …

[อ่านเพิ่มเติม]