การขยายพันธุ์ผักหวานป่า

ผักหวานป่า แม้ชื่อจะอยู่ในป่าแต่กลับเป็นที่นิยมในการบริโภคของคนในเมืองเป็นอย่างมาก และหากจะรอให้เด็ดจากป่ามาวางขายได้อาจจะต้องใช้เวลารอที่ยาวนานร่วมปี เพราะตามธรรมชาติแล้วในแต่ละปีผักหวานป่าตามธรรมชาติจะมียอดให้นำมาขายได้เพียงปีละครั้งเท่านั้น ดังนั้นการขยายพันธุ์ผักหวานป่าเพื่อปลูกตามไร่ตามสวนจึงเป็นโอกาสอันดีของเกษตรกรที่จะผลิตผักใบเขียวพื้นบ้านยอดฮิตให้มีส่งขายในตลาดทั้งปี …

[อ่านเพิ่มเติม]

การควบคุมโรคผลแตกผลลายในการผลิตลำไยส่งออกจังหวัดพะเยา

ลำไยเป็นไม้ผลเศรษฐกิจสำคัญอันดับหนึ่งของภาคเหนือในพื้นที่ 8 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดเชียงใหม่  …

[อ่านเพิ่มเติม]

บูรณาการการป้องกันแก้ปัญหาสาหร่ายและคุณภาพน้ำในเขื่อนสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี

อ่างเก็บน้ำเขื่อนสิรินธรตั้งอยู่อำเภอสิรินธร จังหวัดอุบลราชธานี เป็นอ่างเก็บน้ำที่สร้างกั้นแม่น้ำลำโดมน้อย มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า และยังมีศักยภาพรองในด้านการท่องเที่ยว …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพยากรณ์ฝนความละเอียดสูง เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย

ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มักประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำบางพื้นที่และขาดแคลนน้ำตามฤดูกาล หลายพื้นที่ประสบปัญหาจากอุทกภัยที่มีสาเหตุจากป่าไม้บริเวณต้นน้ำลำธารถูกทำลาย และเมื่อพิจารณาขอบเขตการวิจัยตามกรอบด้านการบริหารจัดการน้ำในแง่ของ Issue …

[อ่านเพิ่มเติม]

การประเมินและคัดเลือกพันธุ์ลูกผสมมะขามเปรี้ยวไทย

ปัจจุบันความต้องการมะขามเปรี้ยวมีความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง (กรมส่งเสริมการเกษตร, 2549) แม้ว่ามะขามจะเป็นพืชยืนต้นที่สามารถปลูกได้ทั่วทุกภาคของประเทศไทย …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์มะเขือเทศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อการบริโภคผลสดและการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรม

ด้วยความนิยมบริโภคมะเขือเทศกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก ทำให้เกิดการคัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์แบบทั้งด้านขนาด รูปร่าง รสชาติ สี …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์ถั่วลิสงเพื่อเพิ่มผลผลิตและความต้านทานต่อโรคยอดไหม้สำหรับเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (ปีที่ 2)

จากนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมการปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อยทดแทนการปลูกข้าวนาปรัง ถั่วลิสงเป็นพืชหนึ่งที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสม เพราะเป็นพืชที่ใช้น้ำตลอดฤดูปลูกน้อยกว่าข้าวและตลาดมีความต้องการสูง สาเหตุที่ทำให้ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการเนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกลดลงและผลผลิตต่อไร่ของประเทศอยู่ในระดับต่ำ แนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวคือ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์ถั่วเขียวต้านทานต่อโรคราแป้งและใบจุด โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยคัดเลือก

การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจในประเทศไทยมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการเกษตร เนื่องจากในปัจจุบันการผลิตพืชเศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากศัตรูพืช และสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมจากภาวะโลกร้อน ฯลฯ ทำให้ได้ผลผลิตลดลง …

[อ่านเพิ่มเติม]

การคัดเลือก และปรับปรุงพันธุ์ฟักทองแฟนซีสำหรับการผลิตในประเทศไทย

ฟักทองแฟนซีจัดเป็นพืชวงศ์แตง กลุ่มฟักประดับ ไม่นิยมนำมาบริโภคเนื่องจากรสชาติไม่ดี อย่างไรก็ตามได้นำมาใช้ประโยชน์เชิงความเชื่อและศาสนา โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลตรุษจีน …

[อ่านเพิ่มเติม]