Category Archives: ความรู้จากงานวิจัย

การพัฒนาพันธุ์มะเขือเทศที่เหมาะสมต่อการเพาะปลูกแบบเกษตรอินทรีย์ เพื่อการบริโภคผลสดและการแปรรูปเชิงอุตสาหกรรม

ด้วยความนิยมบริโภคมะเขือเทศกันอย่างกว้างขวางทั่วโลก ทำให้เกิดการคัดเลือกและพัฒนาสายพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์แบบทั้งด้านขนาด รูปร่าง รสชาติ สี …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์ถั่วลิสงเพื่อเพิ่มผลผลิตและความต้านทานต่อโรคยอดไหม้สำหรับเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย (ปีที่ 2)

จากนโยบายของรัฐบาลที่ส่งเสริมการปลูกพืชที่ใช้น้ำน้อยทดแทนการปลูกข้าวนาปรัง ถั่วลิสงเป็นพืชหนึ่งที่มีศักยภาพและมีความเหมาะสม เพราะเป็นพืชที่ใช้น้ำตลอดฤดูปลูกน้อยกว่าข้าวและตลาดมีความต้องการสูง สาเหตุที่ทำให้ผลผลิตไม่เพียงพอต่อความต้องการเนื่องจากเนื้อที่เพาะปลูกลดลงและผลผลิตต่อไร่ของประเทศอยู่ในระดับต่ำ แนวทางในการแก้ปัญหาดังกล่าวคือ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาพันธุ์ถั่วเขียวต้านทานต่อโรคราแป้งและใบจุด โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยคัดเลือก

การปรับปรุงพันธุ์พืชเศรษฐกิจในประเทศไทยมีความสำคัญเป็นอย่างมากต่อการเกษตร เนื่องจากในปัจจุบันการผลิตพืชเศรษฐกิจได้รับผลกระทบจากศัตรูพืช และสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมจากภาวะโลกร้อน ฯลฯ ทำให้ได้ผลผลิตลดลง …

[อ่านเพิ่มเติม]

การคัดเลือก และปรับปรุงพันธุ์ฟักทองแฟนซีสำหรับการผลิตในประเทศไทย

ฟักทองแฟนซีจัดเป็นพืชวงศ์แตง กลุ่มฟักประดับ ไม่นิยมนำมาบริโภคเนื่องจากรสชาติไม่ดี อย่างไรก็ตามได้นำมาใช้ประโยชน์เชิงความเชื่อและศาสนา โดยเฉพาะในช่วงเทศกาลตรุษจีน …

[อ่านเพิ่มเติม]

การประเมินความเสี่ยงภัยน้ำท่วมเชิงพลวัตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินที่ไม่เป็นไปตามผังเมือง

อุทกภัยเป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจากน้ำที่ก่อให้เกิดความเสียหายกับมนุษย์ทั้งชีวิตและทรัพย์สินหลายประการ หากเกิดในพื้นที่เมือง จะส่งผลให้เกิดปัญหาน้ำท่วมขังทำให้การสัญจรทางบกติดขัดหรือไม่สามารถเดินทางได้เลย เกิดน้ำเน่าเหม็นในพื้นที่ที่น้ำขังเป็นเวลานาน เกิดขยะจำนวนมากภายหลังน้ำ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การประเมินและพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการความเสี่ยงการรับสัมผัสเชื้อดื้อยาจากการบริโภคเนื้อสุกรได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบคทีเรียดื้อยาเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญระดับโลก การใช้ยาต้านจุลชีพในปศุสัตว์อาจทำให้เกิดแบคทีเรียดื้อยาและแพร่กระจายแบคทีเรียดังกล่าว โดยอาจเป็นแบคทีเรียก่อโรคหรือเก็บกักตัวระบุการดื้อยาที่ถ่ายทอดไปยังแบคทีเรียก่อโรคได้และอาจปนเปื้อนในเนื้อสัตว์ ท้ายที่สุดผู้บริโภคอาจได้รับแบคทีเรียเหล่านี้จากการบริโภคเนื้อสัตว์ และส่งผลให้เกิดการอุบัติของแบคทีเรียดื้อยาในกลุ่ม …

[อ่านเพิ่มเติม]

การบูรณาการระบบ GIS กับแบบจำลอง HEC RAS เพื่อการบริหารจัดการน้ำในพื้นที่ขนาดใหญ่

ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรน้ำ การพัฒนาแหล่งน้ำของประเทศไทยจึงส่งผลให้ประเทศไทยมีศักยภาพในน้ำต้นทุนเพื่อรองรับความต้องการของประชาชนในด้านต่าง ๆ เช่น ความเป็นอยู่ …

[อ่านเพิ่มเติม]

ศึกษาการประมาณค่าปริมาณฝนและน้ำท่าบริเวณเขื่อนลำปาวลุ่มน้ำชี

การประมาณข้อมูลปริมาณน้ำฝน (Watershed Management) เป็นส่วนสำคัญอย่างหนึ่งในการพิจารณาการจัดการสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรน้ำ ไม่ว่าจะเป็นการเฝ้าระวัง …

[อ่านเพิ่มเติม]