การใช้พลังงานทดแทนในภาคการเกษตร

ภาคการเกษตรกรรมถือเป็นภาคการผลิตที่สำคัญสำหรับความมั่นคงอาหารทั่วโลก ในประเทศไทยเรานั้นได้เริ่มนำพลังงานทดแทนเข้ามาใช้ในภาคการผลิตเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในปัจจุบันที่เราจะพบว่าแผงโซลาเซลล์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานด้วยพลังงานแสงอาทิตย์ที่เคยมีราคาสูงลิบลิ่วแทบจะจับต้องไม่ได้ในอดีต กลายเป็นอุปกรณ์ที่สามารถซื้อหาได้ในราคาที่พร้อมจ่ายมากขึ้น …

[อ่านเพิ่มเติม]

การปลูกกาแฟอราบิก้าในไทย

การปลูกกาแฟอราบิก้าในประเทศไทยเรานั้นแรกเริ่มเดิมทีเมื่อ 50 กว่าปีที่ผ่านมาได้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้ปลูกในพื้นที่สูงเพื่อทดแทนการปลูกพืชที่มีอนุพันธุ์ออกฤทธิ์เสพติดโดยโครงการหลวง จนสามารถให้ผลผลิตได้ดีและสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้เพาะปลูก จนมรการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ให้ได้ผลผลิตที่มากขึ้นและมีคุณภาพมากขึ้น …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนารูปแบบสู่ความมั่นคงทางด้านอาหารด้วยนวัตกรรมการเลี้ยงสัตว์น้ำ ปลูกพืชและการใช้พลังงานแสงอาทิตย์เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในอนาคต

ปัจจุบันเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำกำลังเผชิญกับความท้าทาย อันเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์และความแปรปรวนทางธรรมชาติ ส่งผลให้องค์ประกอบของชั้นบรรยากาศเปลี่ยนแปลงไป ในประเทศไทย …

[อ่านเพิ่มเติม]

การศึกษาการพัฒนาการจัดการพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ เพื่อการเกษตรในพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ประเทศไทยกำลังประสบกับปัญหาภัยแล้งอย่างรุนแรงที่แผ่ขยายไปทั่วประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 56 ล้านไร่ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับผลกระทบอย่างหนัก …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาประสิทธิภาพระบบการให้น้ำในกล้วยไม้ตัดดอกสกุลหวาย ด้วยการตัดสินใจบนข้อมูลพื้นฐานเพื่อการจัดการน้ำที่ยั่งยืน

การผลิตกล้วยไม้ถูกท้าทายจากปัญหาการจัดการน้ำ เนื่องจากขาดงานวิจัยที่สนับสนุนข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับความต้องการน้ำสำหรับการผลิตกล้วยไม้ที่แปรผันตามสภาพอากาศและฤดูกาล เกษตรกรยังคงอาศัยการตัดสินใจโดยอาศัยประสบการณ์เพื่อกำหนดเวลาและความถี่ในการให้น้ำ (experienced based …

[อ่านเพิ่มเติม]

การวิจัยเพื่อพัฒนาต้นแบบการบริหารจัดการน้ำเพื่อความยั่งยืน กรณีศึกษาลุ่มน้ำคลองสวนหมาก

ลุ่มน้ำคลองสวนหมากเป็นพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยของลุ่มน้ำปิงตอนล่าง มีเนื้อที่ 1,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาแบบจำลองปัญญาประดิษฐ์สำหรับการพยากรณ์ดัชนีความแห้งแล้ง และระบบสนับสนุนการตัดสินใจการเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในจังหวัดเชียงใหม่

ภัยแล้งเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่สามารถจัดได้ว่าเป็นภัยพิบัติทางธรรมชาติหากก่อให้เกิดผลกระทบและสร้างความเสียหายต่อมนุษย์หรือกิจกรรมของมนุษย์ โดยเฉพาะในภาคเกษตรกรรม ในบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย ภาคการเกษตรมักจะได้รับผลกระทบจากภัยแล้งในช่วง 2 …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำหรับการพยากรณ์ภัยแล้งสุดขีดเชิงพื้นที่ในลุ่มน้ำชี เพื่อการบริหารจัดการน้ำสำหรับการเกษตรแม่นยำ

ภัยแล้งเป็นภัยธรรมชาติประเภทหนึ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ อาจเป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศที่ทำให้ปริมาณน้ำฝนไม่เพียงพอในบางฤดูกาลหรือฝนตกเป็นระยะซึ่งต่ำกว่าค่าเฉลี่ย นอกจากนี้ การกระจายของฝนที่ไม่สม่ำเสมอในภูมิภาคต่างๆ และการจัดการน้ำที่ไม่ดีสามารถนำไปสู่สภาวะภัยแล้งหรือขาดแคลนน้ำได้ …

[อ่านเพิ่มเติม]

การพัฒนาแหล่งน้ำบาดาลระดับตื้น จากทางน้ำโบราณโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

ประเทศไทยเผชิญกับปัญหาภัยแล้งมาเป็นเวลาหลายปี ส่งผลให้ประชาชนขาดแคลนน้ำเพื่อการเกษตรและอุปโภคบริโภค การขาดแคลนน้ำส่งผลกระทบอย่างมากต่อทั้งประชาชนและภาคการผลิตทางการเกษตรของประเทศโดยเฉพาะในพื้นที่นอกเขตชลประทาน ในช่วงฤดูแล้ง แต่ประเทศไทยประสบปัญหาฝนแล้งอย่างต่อเนื่องและน้ำกักเก็บในเขื่อนหลายแห่งมีปริมาณไม่เพียงพอ …

[อ่านเพิ่มเติม]